กิจกรรมที่ 4 :ให้นักศึกษาอ่านเนื้อหาแล้วตอบคำถาม
1.เหตุผลทำไมต้องประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
- กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ให้บิดา
มารดาหรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับาการศึกษาภาคบังคับจำนวน
9 ปี โดยเด็กที่มีจำนวนอายุย่างก้าวปี่ที่ 7 เรียนในสถาบันขั้นพื้นฐานจนอายุย่างก้าวเข้าปีที่ 16 เว้นแต่จะสอบได้ชั้นปี่ที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับ
จึงสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการประถมศึกษา
เพื่อให่เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎหมายดังกล่าว
2.ท่านเข้าใจความหมายตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
อย่างไร
2.1. ผู้ปกครอง
บิดา มารดา
ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจในการปกครองหรือผู้ปกครองตามกฎประมวลเพ่งและพาณิชย์
และหมายความรวมไปถึงเด็กที่อยู่ในความปกครอง
อยู้ด้วยเป็นประจำหรือเด็กที่อยู่รับใช้การงาน
2.2.เด็ก
เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่ 7 จนถึงอายุย่างเข้าปีที่
16 เว้นแต่เด็กที่สอบได้ชั้นปีที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับแล้ว
2.3. การศึกษาภาคบังคับ
ข้อ ๑ นักเรียนและนักศึกษาต้องไม่ประพฤติตน ดังต่อไปนี้
(๑) หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน
(๒) เล่นการพนัน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน
(๓) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด
(๔) ซื้อ จำหน่าย แลกเปลี่ยน เสพสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
สิ่งมึนเมา บุหรี่ หรือยาเสพติด
(๕) ลักทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ ข่มขู่ หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพย์บุคคลอื่น
(๖) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ทำร้ายร่างกายผู้อื่น
เตรียมการหรือกระทำการใด ๆ อันน่าจะก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยหรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน
(๗) แสดงพฤติกรรมทางชู้สาวซึ่งไม่เหมาะสมในที่สาธารณะ
(๘) เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี
(๙)
ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร่หรือรวมกลุ่ม อันเป็นการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น
ข้อ ๒
ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษากำหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและ
นักศึกษาได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้
2.4. องค์กรปกครองส่วนท้องุถิ่น
องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การส่วนตำบล กรุงเทพมหานคร
เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่ได้รับการจัดตั้งตามกฎหมาย
หรือองค์กรส่วนท้องถิ่นที่มีสถานศึกษาในสังกัด
3.กรณี ผู้ปกครองไม่ส่งเข้าเรียนตามที่กฎหหมายฉบับนี้กำหนดจะต้องถูกลงโทษอย่างไร และถ้าเด็กไม่สามารถเข้ารับการศึกษาใครจะเป็นผู้มีอำนาจในการผ่อนผันเด็ก เข้าเรียน
- หากผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้าเรียนตามกฎหมายฉบับนี้กำหนดจะต้องถูกลงโทษโดยปรับไม่เกิน 1000 บาทและหากปราศจากเหตุผล ปรับไม่เกิน 10000 บาท เนื่องจากทำให้เด็กขากการศึกษา แต่หากเมื่อผู้ปกครองมาร้องขอผ่อนผัน ให้สถานศึกษาเป็นผู้ผ่อนให้เด็กตามเกณฑ์อายุที่เรียนก่อน อายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้
4. ให้นักศึกษาสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการอ่านพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรรวงศึกษาธิการ
มีทั้งหมด 21 ข้อ
1. กำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา
พ.ศ.2548
|
||||||||||||||
2. กำหนดจำนวนกรรมการ
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธาน
|
||||||||||||||
3.
กรรมการและกรรมการ วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของ
| ||||||||||||||
กรรมการในคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ.2546
|
||||||||||||||
4. กำหนดจำนวนกรรมการ
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธาน
| ||||||||||||||
กรรมการและกรรมการ
วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของ
|
||||||||||||||
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ.2546
|
||||||||||||||
5. กำหนดจำนวนกรรมการ
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรม
|
||||||||||||||
การและกรรมการ
วาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการ
|
||||||||||||||
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546
|
||||||||||||||
6. กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
|
||||||||||||||
ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
พ..ศ.2548
|
||||||||||||||
7. กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษ
|
||||||||||||||
พ.ศ.2548
|
||||||||||||||
8. กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาสำหรับ
|
||||||||||||||
บุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ
พ.ศ.2550
|
||||||||||||||
9. กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและ
|
||||||||||||||
ประสานความร่วมมือการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ศ.2548
|
||||||||||||||
10. กำหนดจำนวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตามตรวจสอบและ
|
||||||||||||||
ประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2548
|
||||||||||||||
11. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุเด็กเพื่อเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545
|
||||||||||||||
12. กำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
|
||||||||||||||
พ.ศ.2546
|
||||||||||||||
13. กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขในการจัดระบบงานและกิจกรรมในการ
|
||||||||||||||
แนะแนว
ให้คำปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง พ.ศ.2548
|
||||||||||||||
14. กำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
||||||||||||||
หรือส่วนราชการที่เรียกชื่อย่างอื่น
พ.ศ.2547
|
||||||||||||||
15. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
พ.ศ.2550
|
||||||||||||||
16. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรงบประมาณทางการศึกษาสำหรับคนพิการ
|
||||||||||||||
พ.ศ.2545
|
||||||||||||||
17. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก
สื่อ บริการ
|
||||||||||||||
และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
พ.ศ.2550
|
||||||||||||||
18. กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและลักษณะของงานที่จะให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
|
||||||||||||||
เป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
||||||||||||||
และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
พ.ศ.2547
|
||||||||||||||
19. การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
|
||||||||||||||
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547
|
||||||||||||||
20. การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
|
||||||||||||||
21. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2549
|
||||||||||||||
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น